โลกโซเชี่ยลสงสัย ! บ้านใหม่จระเข้อยู่ไหน หลายกระแสเห็นด้วยไม่เห็นด้วยจับมา
โพสเมื่อ : Friday, September 1st, 2017 : 1.24 pm
หลังเจ้าหน้าที่จับจระเข้ขนาดใหญ่ซุกขุมน้ำหน้าหาดเลพังได้.แล้ว จะเอาไปไว้ไหน ทำอย่างไรต่อไป ขณะที่บางกระแสระบุถ้าเป็นจระเข้จากธรรมชาติควรปล่อยกลับมากกว่าที่จะนำมากักขัง เหตุจระเข้น้ำเค็มเป็นสัตว์หายาก ควรนอนุรักษ์ ขณะที่บางส่วนไม่เห็นด้วยหวั่นเกิดอันตรายกับประชาชนและนักท่องเที่ยว ขณะที่เจ้าหน้าที่ตรวจสุขภาพแล้วพบแข็งแรงดี
จากกรณีเจ้าหน้าที่ใช้ความพยายาม 2 วัน 2 คืน ในการจับจระเข้ตรวจสอบพบว่าเข้าไปอาศัยอยู่ในขุมน้ำบริเวณหน้าหาดเลพัง ต.เชิงทะเล จ.ภูเก็ต ซึ่งสามารถจับได้เมื่อเวลา 03.30 น.วันนี้ ( 1 ก.ย.) ปรากฏว่าเป็นจระเข้ น้ำเค็มขนาดใหญ่ ความยาวที่วัดได้ 300 ซ.ม. น้ำหนักประมาณ 200 กิโลกรัม ซึ่งถือว่า จระเข้ขนาดใหญ่ และ ดุร้าย เนื่องจากขณะที่เจ้าหน้าที่ใช้อวนเข้าจับกุมเค้าพยามดินจนหลุดจากจับถึง 3 ครั้ง บางครั้งพุ่งเข้าชนเรือของเจ้าหน้าที่หวิดล่ม แต่ในที่สุดเจ้าหน้าที่ก็สามารถจับและนำจระเข้ส่งไปดูแลที่ศูนย์วิชัยประมงช่วยฝั่งอันดามัน บ้านพารา ต.ป่าลอก อ.ถลาง จ.ภูเก็ต
อย่างไรก็ตามทั้งก่อนและหลังการจับจระเข้ดังกล่าว ในโลกโซเซียล เองได้มีการวิพาก วิจารณ์ เกี่ยวกับเรื่องนี้อย่างกว่างขว้าง ทั้งในกลุ่มของนักวิชาการ และคนทั่วไป ทั้งคนที่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วยกับการนำจระเข้ออกจากพื้นที่ที่เค้าอาศัยอยู่ ร่วมทั้งให้ตรวจสอบที่มาของจระเข้ ว่าเป็นจระเข้ที่มีการเลี้ยงไว้แล้วน้ำมาปล่อยทิ้ง หรือเป็นจระเข้ที่หลุดออกจากฟาร์มเลี้ยงจระเข้ นอกจากนั้นบางคนยังระบุว่า จระเข้ตัวดังกล่าวอาศัยมานานแล้ว จึงไม่ควรที่จะนำออกจากจุดที่เค้าอาศัยเพราะเป็นการทำลายเค้าอย่างร้าย รวมทั้งบางส่วนมีความข้องใจว่าหลังจับมาแล้วหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะดำเนินการอย่างไรกับจระเข้ตัวดังกล่าว หลายกระแสมความห่วงใยว่าภาครัฐจะนำไปให้ภาคเอกชนหรือใหม่ หรือเอาไปให้ตาย
เช่นเดียวกับ ดร.ธรณ์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ นักวิชาการด้านทะเลและสิ่งแวดล้อม ที่ออกมาโพสต์เฟซบุ๊กส่วนตัว ถึงการดูแลจัดการกับจระเข้ที่ทางเจ้าหน้าที่จับมาได้แล้วโดยมีใจความว่า “1. เราควรให้สัตวแพทย์ตรวจโดยละเอียด หากต้องช่วยเหลืออย่างไร ควรทำทันที 2. การพิจารณาต่อจากนี้ ควรตรวจสอบที่มา หากพบว่ามาจากฟาร์มใด ควรดำเนินการตามขั้นตอน 3. หากต้องการปล่อยสู่ธรรมชาติ เช่น อุทยานที่ห่างไกล ต้องคุยให้ชัดเจนว่าทำได้ไหมและเป็นที่ใด 4. หากอยากเลี้ยงไว้ อาจเป็นองค์กรสวนสัตว์หรือสถานที่อื่นๆ ตามความเหมาะสม สำคัญที่สุด เราไม่ควรทำร้ายหรือมอบให้ฟาร์มใด จากนั้นก็ส่งเธอไปเป็นกระเป๋า เราจับเธอมา เราต้องดูแลเธอเป็นอย่างดีครับ
ขณะที่จระเข้ที่ทางเจ้าหน้าที่จับได้ และ นำไปไว้ที่ศูนย์วิชัยประมงช่วยฝั่งภูเก็ต หมู่ 4 บ้านพารา ต.ป่าลอก อ.ถลาง จ.ภูเก็ต ซึ่งหลายๆคนสงสัยว่าหลังจับไปแล้วจะไปทำอะไร วันนี้ (1 ก.ย.) ผู้สื่อข่าวได้ไปติดตามตรวจ พบว่า ขณะนี้เจ้าหน้าที่ได้นำจระเข้ดังกล่าวไปใส่ไว้ในบ่อซีเมนต์ ซึ่งมีความสูงประมาณ 150 ซ.ม. และ นำตาข่ายมาคลุมไว้เพื่อป้องกันไม่ให้จระเข้ปีนขึ้นจากบ่อที่ขังไว้ พร้อมจัดเจ้าหน้าที่ดูและและฉีดน้ำให้จระเข้เพื่อรักษาอุณหภูมิในตัวจระเข้ให้อยู่ในสภาพที่เหมาะ รวมทั้งจัดเจ้าหน้าที่ดูแลอาการ ซึ่งขณะนี้ได้มีการตรวจสอบสภาพร่างการแล้ว พบว่าสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ดี มีอาการอ่อนเพลียเล็กเนื่องจากถูกไล่จับหลายขัวโมง คาดว่าใช้เวลาพักฟื้น 2 – 3 วันก้น่าจะกลับมาสมบูรณ์ดี
ขณะที่นายไพบูลย์ บุญลิปตานนท์ ประมงจังหวัดภูเก็ต กล่าวว่า หลังทีมเฉพาะกิจล่าจระเข้ จับตัวได้เมื่อเวลา 03.30 น.วันนี้ (1 ก.ย.) ขณะนี้จระเข้ อยู่ภายใต้การดูแลของศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่ง บ้านพารา ตำบลป่าคลอก อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต โดยทาง ประมงจังหวัดภูเก็ต ได้รายงาน ไปยังกรมประมงทราบการดำเนินการเรียบร้อยแล้ว
ประมงจังหวัดภูเก็ต ยังกล่าวต่อไปว่า หากมีหน่วยงานใดประสงค์จะใช้ประโยชน์จากจระเข้ดังกล่าวสามารถทำหนังสือไปที่กรมประมงเพื่อขอใช้ประโยชน์ได้ อาทิการนำไปขยายพันธ์เป็นต้น
- ภูเก็ตยกระดับ up level ท่องเที่ยวชุมชนภูเก็ต จัดงาน “Phuket Business Matching”...
- อบจ.ภูเก็ต ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ โครงการ “ภูเก็ตสีขาว สร้างพื้นที่ปล...
- อบจ.ภูเก็ต เปิดประชุมสภาสมัยสามัญ ประจำปี 2568 สมัยแรก (ครั้งที่ 2)...
- ยิ่งใหญ่ ยกทัพสินค้ากว่า 1,000 รายการ มาอยู่ที่ งาน PHUKET RENOVATION EXHIBITIO...
- ปิดฉากการแข่งขัน “Jungceylon Beach Body Competition 2025”...
- นายก อบจ.ภูเก็ต เปิดกิจกรรมปล่อยพันธุ์ปูทะเล โครงการพัฒนาศักยภาพชาวประมงเพื่อส่ง...
- March 2025 (34)
- February 2025 (23)
- January 2025 (23)
- December 2024 (21)
- November 2024 (25)
- October 2024 (24)
- September 2024 (39)
- August 2024 (33)
- July 2024 (36)
- June 2024 (34)
- May 2024 (38)
- April 2024 (38)
- March 2024 (46)
- February 2024 (37)
- January 2024 (37)
- December 2023 (41)
- November 2023 (33)
- October 2023 (30)
- September 2023 (53)
- August 2023 (53)
- July 2023 (41)
- June 2023 (46)
- May 2023 (48)
- April 2023 (50)
- March 2023 (59)
- February 2023 (61)
- January 2023 (59)
- December 2022 (63)
- November 2022 (64)
- October 2022 (69)
- September 2022 (56)
- August 2022 (59)
- July 2022 (41)
- June 2022 (49)
- May 2022 (60)
- April 2022 (50)
- March 2022 (49)
- February 2022 (40)
- January 2022 (39)
- December 2021 (56)
- November 2021 (51)
- October 2021 (44)
- September 2021 (26)
- August 2021 (31)
- July 2021 (20)
- June 2021 (20)
- May 2021 (17)
- April 2021 (4)
- March 2021 (16)
- February 2021 (20)
- January 2021 (5)
- December 2020 (16)
- November 2020 (18)
- October 2020 (20)
- September 2020 (21)
- August 2020 (15)
- July 2020 (23)
- June 2020 (14)
- May 2020 (8)
- April 2020 (64)
- March 2020 (97)
- February 2020 (48)
- January 2020 (74)
- December 2019 (54)
- November 2019 (49)
- October 2019 (41)
- September 2019 (51)
- August 2019 (61)
- July 2019 (70)
- June 2019 (73)
- May 2019 (81)
- April 2019 (72)
- March 2019 (63)
- February 2019 (70)
- January 2019 (77)
- December 2018 (71)
- November 2018 (84)
- October 2018 (82)
- September 2018 (60)
- August 2018 (88)
- July 2018 (136)
- June 2018 (95)
- May 2018 (99)
- April 2018 (89)
- March 2018 (70)
- February 2018 (83)
- January 2018 (79)
- December 2017 (77)
- November 2017 (87)
- October 2017 (90)
- September 2017 (79)
- August 2017 (111)
- July 2017 (106)
- June 2017 (97)
- May 2017 (77)
- April 2017 (64)
- March 2017 (74)
- February 2017 (62)
- January 2017 (104)
- December 2016 (103)
- November 2016 (106)
- October 2016 (103)
- September 2016 (110)
- August 2016 (132)
- July 2016 (153)
- June 2016 (95)
- May 2016 (124)
- April 2016 (57)
- August 2015 (1)
- June 2015 (2)
- May 2015 (9)
- April 2015 (1)
- March 2015 (2)
- February 2015 (1)