ออกจากไข่แล้วลูกเต่ามะเฟืองรังที่ 3 ฟักเจ้าหน้าที่ช่วยสำเร็จปล่อยกลับทะเล 40 ตัว
โพสเมื่อ : Sunday, March 3rd, 2019 : 8.52 am
ออกจากไข่แล้วลูกเต่ามะเฟืองรังที่ 3 ฟังออกจากไข่สำเร็จ ปล่อยลงทะเล 40 ตัว รอการพักฟื้นจำนวน 4 ตัว หลังแม่เต่ามะเฟืองกลับมาวางไข่อีกครั้งในรอบเกือบ 10 ปี
จากกรณีเมื่อวานนี้ ( 2 มี.ค.) เจ้าหน้าที่ตรวจพบหลุมไข่เต่ามะเฟือง ซึ่งแม่เต่ามะเฟือง ขึ้นมาวางไข่ รังที่ 3 ที่ชายหาดคึกคัก ต.คึกคัก อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา มีการยุบตัวและพบลูกเต่าคลานออกจากหลุมจำนวน 1 ตัวทาง เมื่อคืนที่ผ่านมาทางเจ้าหน้าที่นำโดย ดร.ก้องเกียรติ กิตติวัฒนาวงศ์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทะเลอันดามัน(ภูเก็ต) พร้อมด้วย ว่าที่ร้อยเอก พงศ์ศักดิ์ เวทยาวงศ์ นายอำเภอตะกั่วป่า นายประถม รัสมี ผอ.สบทช.8 และ เจ้าหน้าที่สำนักงานบริหารกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 8 ได้ช่วยกันขุดหลุมลูกเต่ามะเฟือง เพื่อนำลูกเต่าขึ้นจากหลุมและปล่อยลงทะเล
ปรากฏว่า สามารถนำเต่ามะเฟืองและ ปล่อยลงสู่ทะเลได้ทั้งหมดจำนวน 40 ตัว และมีลูกเต่าตายจำนวน 7 ตัว เป็นไข่ไม่สมบูรณ์ไม่ได้รับการผสม จำนวน 13 ฟอง ซึ่งหลุมฝักไข่เต่ามะเฟืองนี้เป็นหลุมที่ 3 และ หลุมสุดท้ายของแม่เต่ามะเฟืองที่ขึ้นมาว่างไข่ในพื้นที่จังหวัดพังงา
ดร.ก้องเกียรติ กิตติวัฒนาวงศ์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทะเลอันดามัน(ภูเก็ต) กล่าวว่า สำหรับรังเต่ามะเฟืองรังที่ 3 ถือเป็นหลังสุดท้าย มีอัตราการรอดที่ประมาณ 86% ที่ได้ลูกเต่าจำนวน 40 ตัว และมีลูกเต่าที่รอการพักฟื้น ที่นำปล่อยลงสู่ทะเล ซึ่งรังเต่ามะเฟืองทั้ง รังที่ขึ้นมาวางไข่บริเวณชายหาด คึกคัก อ.ตะกั่วป่า จำนวน 2 รัง และ ชายหาดวัดท่าไทร อ.ท้ายเหมือง จำนวน 1 รัง มีเต่ามะเฟืองที่สามารถ ลอดลงสู่ทะเลได้ทั้งหมดจำนวน กว่า 127 ตัว ทั้ง 3 รัง โดยเต่าตัวแม่ที่ขึ้นมาวางไข่จะกลับมาวางไข่อีกครั้งในช่วง 2-3 ปี โดยลูกเต่าที่ปล่อยลงสู่ทะเลจะไปโตในธรรมชาติ และจะกลับมา โดยใช้เวลา 15 ถึง 20 ปี
สำหรับเต่ามะเฟือง ถือว่าเป็นทูตทางธรรมชาติ ที่เข้ามาเยือน โดยทุกคนต้องช่วยกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมเพื่อให้เป็นแหล่งวางไข่ของเต่ามะเฟืองและเต่าทะเลชนิดอื่นๆรวมถึงสัตว์น้ำ เพื่อเป็นแหล่งหากินตามธรรมชาติได้ อย่างไรก็ตาม พบว่า พบอัตราการรอดในรังแรก ประมาณ 72% และหลังที่2 อันตราการรอด 100 % ส่วนรังที่3 อัตราการรอด 86% ซึ่งถือว่ามีอัตรา การรอดมากกว่าธรรมชาติ ที่ไม่ได้รับการดูแล
ด้านนายประถม รัศมี ผอ.สบทช.8 กล่าวว่า รู้สึกยินดีกับพี่น้องทั้งประเทศและพี่น้องจังหวัดพังงา ที่ได้ร่วมแรงร่วมใจในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล และชายฝั่งให้มีความอุดมสมบูรณ์ให้เป็นแหล่งหากิน อาศัยของสัตว์น้ำและสัตว์ทะเล จนทำให้เต่า ขึ้นมาวางไข่ ซึ่งถือเป็นเรื่องที่น่ายินดีของประชาชนชาวจังหวัดพังงา ซึ่งเป็นตัวชี้วัด ว่าทรัพยากรทางทะเลของจังหวัดพังงา มีความอุดมสมบูรณ์ทั้งนี้เกิดจากหลายภาคส่วนโดยเฉพาะภาคประชาชนภาคราชการ และเอกชน ได้ร่วมมือร่วมใจกันรักษา ธรรมชาติ ตามนโยบายของกรม ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ในการดูแลชายหาด การเก็บขยะ และสิ่งที่ส่งผลกระทบกับทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งเมื่อทรัพยากรเหล่านี้มีความอุดมสมบูรณ์ก็ ทำให้เต่าที่ค่อนข้างหายากขึ้นมาวางไข่
โดยขณะนี้ไม่ว่าจะเป็นฉลามวาฬ โลมา พะยูน หรือปลาที่หายากได้กลับคืนมาสู่ธรรมชาติ ซึ่งขณะนี้ ทางเจ้าหน้าที่สำนักงานบริหารกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 8 จังหวัดพังงา ได้จัดกิจกรรมลดละเลิกขยะ และเรื่องน้ำเสียไม่ทิ้งลงสู่ทะเล พร้อมทั้งมีการฟื้นฟูปะการังเทียม ตามนโยบายของกรมฯซึ่งสิ่งเหล่านี้ เป็นการเชื่อมโยงระบบนิเวศให้เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำกลับขึ้นมาวางไข่และเพาะพันธุ์ออกเป็นตัวอีกครั้ง
- สิ้นสุดการรอคอย! ต้นปี 68 นี้ คนภูเก็ต-นักท่องเที่ยว ได้นั่งแน่รถโดยสาร EV Bus อ...
- เปิดใช้แล้ว! อาคารศูนย์อบรมจริยธรรมอิสลามประจำจังหวัดภูเก็ต...
- อาณา ดีเวลอปเมนท์ เปิดตัว “SERRANA” วิลล่าพรีเมี่ยมย่าน “ม่าหนิก” เฟสแรก 20 ยูน...
- กสิกรไทย เปิดตัว รถยนต์ไฟฟ้าแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ “FX EV Car” ที่ภูเก็ต...
- โชว์เรื่องราวความรักแบบฟินๆที่เดียวในโลก ที่อควาเรียภูเก็ต...
- อบจ.ภูเก็ต ร่วมกับ ทต.ศรีสุนทร สำรวจพื้นที่เพื่อปรับปรุงถนน ซ.บ้านม่าหนิก-กะทู้ ...
- December 2024 (2)
- November 2024 (25)
- October 2024 (24)
- September 2024 (39)
- August 2024 (33)
- July 2024 (36)
- June 2024 (34)
- May 2024 (38)
- April 2024 (38)
- March 2024 (46)
- February 2024 (37)
- January 2024 (37)
- December 2023 (41)
- November 2023 (33)
- October 2023 (30)
- September 2023 (53)
- August 2023 (53)
- July 2023 (41)
- June 2023 (46)
- May 2023 (48)
- April 2023 (50)
- March 2023 (59)
- February 2023 (61)
- January 2023 (59)
- December 2022 (63)
- November 2022 (64)
- October 2022 (69)
- September 2022 (56)
- August 2022 (59)
- July 2022 (41)
- June 2022 (49)
- May 2022 (60)
- April 2022 (50)
- March 2022 (49)
- February 2022 (40)
- January 2022 (39)
- December 2021 (56)
- November 2021 (51)
- October 2021 (44)
- September 2021 (26)
- August 2021 (31)
- July 2021 (20)
- June 2021 (20)
- May 2021 (17)
- April 2021 (4)
- March 2021 (16)
- February 2021 (20)
- January 2021 (5)
- December 2020 (16)
- November 2020 (18)
- October 2020 (20)
- September 2020 (21)
- August 2020 (15)
- July 2020 (23)
- June 2020 (14)
- May 2020 (8)
- April 2020 (64)
- March 2020 (97)
- February 2020 (48)
- January 2020 (74)
- December 2019 (54)
- November 2019 (49)
- October 2019 (41)
- September 2019 (51)
- August 2019 (61)
- July 2019 (70)
- June 2019 (73)
- May 2019 (81)
- April 2019 (72)
- March 2019 (63)
- February 2019 (70)
- January 2019 (77)
- December 2018 (71)
- November 2018 (84)
- October 2018 (82)
- September 2018 (60)
- August 2018 (88)
- July 2018 (136)
- June 2018 (95)
- May 2018 (99)
- April 2018 (89)
- March 2018 (70)
- February 2018 (83)
- January 2018 (79)
- December 2017 (77)
- November 2017 (87)
- October 2017 (90)
- September 2017 (79)
- August 2017 (111)
- July 2017 (106)
- June 2017 (97)
- May 2017 (77)
- April 2017 (64)
- March 2017 (74)
- February 2017 (62)
- January 2017 (104)
- December 2016 (103)
- November 2016 (106)
- October 2016 (103)
- September 2016 (110)
- August 2016 (132)
- July 2016 (153)
- June 2016 (95)
- May 2016 (124)
- April 2016 (57)
- August 2015 (1)
- June 2015 (2)
- May 2015 (9)
- April 2015 (1)
- March 2015 (2)
- February 2015 (1)