สตช.จับมือ กรมประมง เพิ่มความรู้กฎหมาย ตรวจสอบย้อนกลับสัตว์น้ำ ฝั่งอันดามัน
โพสเมื่อ : Thursday, June 6th, 2019 : 3.00 pm
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ รวมกับกรมประมง จัดอบรมเชิงปฎิบัติการ “เพิ่มศักยภาพการทำงานของท่าเทียบเรือประมงในการตรวจสอบย้อนกลับสัตว์น้ำ” ให้กับผู้ประกอบการท่าเทียบเรือประมง ผู้ประกอบการเรือประมงฝั่งอันดามัน เพื่อทำประมงถูกต้องตามกฎหมาย
เมื่อเวลา 09.00 น.วันนี้ (6 มิ.ย.) ที่โรงแรม โนโวเทล ภูเก็ต โภคีธรา จ.ภูเก็ต กรมประมง ร่วมกับ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ จัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การเพิ่มศักยภาพการทำงานของท่าเทียบเรือประมงในการตรวจสอบย้อนกลับสัตว์น้ำ” รุ่นที่ 2 ระหว่างวันที่ 5 – 7 มิ.ย.2562 ณ โรงแรมโนโวเทล ภูเก็ต โภคีธรา โดยมี พล.ต.ท.จารุวัฒน์ ไวศยะ ผู้บัญชาการสำนักงานกฎหมายและคดี ในฐานะประธานอนุกรรมการตรวจสอบและติดตามการบังคับใช้กฎหมาย ศูนย์บัญชาการการแก้ไขปัญหาการทำประมงผิดกฎหมาย (ศปมผ.) เป็นประธานเปิดการสัมมนาฯ พร้อมด้วย นางเพราลัย นุชหมอน ผู้เชี่ยวชาญด้านประมงทะเล กรมประมง โดยมีเจ้าหน้าที่ภาครัฐ สมาคมประมง ผู้ประกอบการท่าเทียบเรือประมง จาก 6 จังหวัดฝั่งทะเลอันดามัน ประกอบด้วย ระนอง พังงา ภูเก็ต สตูล กระบี่ และตรัง เข้าร่วมประมาณ 200 คน
พล.ต.ท.จารุวัฒน์ เปิดเผยว่า กรมประมงได้ร่วมกับสำนักงานตำรวจแห่งชาติจัดอบรมโครงการเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การเพิ่มศักยภาพการทำงานของท่าเทียบเรือประมงในการตรวจสอบย้อนกลับสัตว์น้ำ” ขึ้นในพื้นที่ที่มีการทำประมงทะเลทั่งฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน 4 ครั้ง โดยครั้งแรกได้จัดไปแล้วที่พัทยา ตามมาด้วย ภูเก็ต ประจวบศีรีขันธ์ และสงขลา เพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่ทำประมงทะเลทั่วทั้งประเทศ
เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักถึงการแก้ไขปัญหาการทำประมงผิดกฎหมาย ขาดการไร้รายและการไร้ควบคุม (IUU) ให้ความรู้ความเข้าใจในแนวทางการปฏิบัติตามระบบตรวจสอบย้อนกลับของท่าเทียบเรือประมงภายใต้พระราชกำหนดการประมง พ.ศ.2558 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2560 รวมถึงการรายงานอิเล็กทรอนิกส์อของกรมประมง (Thai Flagged Catch Certification System) ในการตรวจสอบย้อนหลังอย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อแลกเปลี่ยนและระดมความคิดเห็นผู้ใช้งานระบบ
สำหรับท่าเทียบเรือประมงที่ได้ขึ้นทะเบียนกับกรมประมงและจะต้องดำเนินการที่กฎหมายประมงกำหนดมีทั้งหมด 800 กว่าแห่ง ในฝั่งอันดามัน 200 แห่ง ส่วนเรือประพาณิชย์ที่ได้รับอนุญาตจับสัตว์น้ำถูกต้องตามกฎหมายมี 10,533 ลำ เรือประมงพื้นบ้าน 25,000 ลำ
พล.ต.ท.จารุวัฒน์ กล่าวเพิ่มว่า การอบรมในครั้งนี้จะเน้นการให้ความรู้ตามกฎหมายประมงที่มุ่งเน้นเรื่องการช่างน้ำหนักปลาแต่ละชนิดของเรือประมงและท่าเทียบเรือประมงที่ให้เรือประมงนำสัตว์น้ำขึ้นฝั่ง เนื่องจากในขณะนี้ยังมีท่าเทียบเรือประมงร้อยละ 20 – 30 ไม่ปฏิบัติตามที่กฎหมายกำหนด ไม่ช่างน้ำหนักปลาแต่ละชนิด ยึดน้ำหนักตามที่เหลือประมงแจ้ง ซึ่งผิดกฎหมายประมง
ท่าเทียบเรือประมงทุกแห่งจะต้องดำเนินการตามที่กฎหมายกำหนดเพื่อให้สามารถประเมินปริมาณสัตว์น้ำในท้องทะเลได้ ซึ่งการดำเนินการดังกล่าทำให้ท้องทะเลมีสัตว์น้ำที่อุดมสมบูรณ์ขึ้น โดยเมื่อปีที่แล้ว เรือประมงพาณิชย์สามารถจับสัตว์น้ำได้เพิ่มขึ้นกว่า 250,000 ตัน เรือประมงพื้นบ้านจับได้เพิ่มกว่า 15,000 ตัน รวมไปถึงการขนส่งสัตว์น้ำจากหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง และการรายงานการช่างปริมาณสัตว์น้ำไปยังระบบของกรมประมง ทั้งที่เป็นระบบอิเล็กทรอนิกส์และระบบธรรมดาทั่วไป
- ภูเก็ตยกระดับ up level ท่องเที่ยวชุมชนภูเก็ต จัดงาน “Phuket Business Matching”...
- อบจ.ภูเก็ต ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ โครงการ “ภูเก็ตสีขาว สร้างพื้นที่ปล...
- อบจ.ภูเก็ต เปิดประชุมสภาสมัยสามัญ ประจำปี 2568 สมัยแรก (ครั้งที่ 2)...
- ยิ่งใหญ่ ยกทัพสินค้ากว่า 1,000 รายการ มาอยู่ที่ งาน PHUKET RENOVATION EXHIBITIO...
- ปิดฉากการแข่งขัน “Jungceylon Beach Body Competition 2025”...
- นายก อบจ.ภูเก็ต เปิดกิจกรรมปล่อยพันธุ์ปูทะเล โครงการพัฒนาศักยภาพชาวประมงเพื่อส่ง...
- March 2025 (34)
- February 2025 (23)
- January 2025 (23)
- December 2024 (21)
- November 2024 (25)
- October 2024 (24)
- September 2024 (39)
- August 2024 (33)
- July 2024 (36)
- June 2024 (34)
- May 2024 (38)
- April 2024 (38)
- March 2024 (46)
- February 2024 (37)
- January 2024 (37)
- December 2023 (41)
- November 2023 (33)
- October 2023 (30)
- September 2023 (53)
- August 2023 (53)
- July 2023 (41)
- June 2023 (46)
- May 2023 (48)
- April 2023 (50)
- March 2023 (59)
- February 2023 (61)
- January 2023 (59)
- December 2022 (63)
- November 2022 (64)
- October 2022 (69)
- September 2022 (56)
- August 2022 (59)
- July 2022 (41)
- June 2022 (49)
- May 2022 (60)
- April 2022 (50)
- March 2022 (49)
- February 2022 (40)
- January 2022 (39)
- December 2021 (56)
- November 2021 (51)
- October 2021 (44)
- September 2021 (26)
- August 2021 (31)
- July 2021 (20)
- June 2021 (20)
- May 2021 (17)
- April 2021 (4)
- March 2021 (16)
- February 2021 (20)
- January 2021 (5)
- December 2020 (16)
- November 2020 (18)
- October 2020 (20)
- September 2020 (21)
- August 2020 (15)
- July 2020 (23)
- June 2020 (14)
- May 2020 (8)
- April 2020 (64)
- March 2020 (97)
- February 2020 (48)
- January 2020 (74)
- December 2019 (54)
- November 2019 (49)
- October 2019 (41)
- September 2019 (51)
- August 2019 (61)
- July 2019 (70)
- June 2019 (73)
- May 2019 (81)
- April 2019 (72)
- March 2019 (63)
- February 2019 (70)
- January 2019 (77)
- December 2018 (71)
- November 2018 (84)
- October 2018 (82)
- September 2018 (60)
- August 2018 (88)
- July 2018 (136)
- June 2018 (95)
- May 2018 (99)
- April 2018 (89)
- March 2018 (70)
- February 2018 (83)
- January 2018 (79)
- December 2017 (77)
- November 2017 (87)
- October 2017 (90)
- September 2017 (79)
- August 2017 (111)
- July 2017 (106)
- June 2017 (97)
- May 2017 (77)
- April 2017 (64)
- March 2017 (74)
- February 2017 (62)
- January 2017 (104)
- December 2016 (103)
- November 2016 (106)
- October 2016 (103)
- September 2016 (110)
- August 2016 (132)
- July 2016 (153)
- June 2016 (95)
- May 2016 (124)
- April 2016 (57)
- August 2015 (1)
- June 2015 (2)
- May 2015 (9)
- April 2015 (1)
- March 2015 (2)
- February 2015 (1)